พืชสมุนไพร นั้นตั้งแต่โบราณก็ทราบกันดีว่ามีคุณค่าทางยามากมายซึ่ง เชื่อกันอีกด้วยว่า ต้นพืชต่าง ๆ ก็เป็นพืชที่มีสารที่เป็นตัวยาด้วยกันทั้งสิ้นเพียงแต่ว่าพืชชนิดไหนจะมีคุณค่าทางยามากน้อยกว่ากันเท่านั้น
- สมุนไพรขึ้นชื่อว่ามีประโยชน์ในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ มากมาย แต่ในทางตรงกันข้าม สมุนไพรก็สามารถให้โทษ และอันตรายแก่ผู้ใช้ได้ หากไม่รู้จักใช้ หรือใช้ไม่ถูกต้อง อาจส่งผลต่อร่างกายก่อให้เกิดอันตราย หรืออาการที่มาจากผลข้างเคียงต่างๆ สมุนไพรบางชนิดมีสารสกัดที่เป็นโทษ ขึ้นอยู่กับส่วนที่นำมาใช้ หรือปริมาณที่นำมาใช้ บางชนิดใช้ในปริมาณที่น้อยไม่ก่อให้เกิดอันตรายได้ แต่ในบางชนิดใช้ในปริมาณที่น้อยก็อาจก่อให้เกิดอันตราย ควรศึกษาหาความรู้และปรึกษาหาคำแนะนำจากแพทย์
โทษจากสมุนไพร
- การใช้สมุนไพร มีประโยชน์ในการบรรเทาอาการในสถานการณ์บางอย่างที่เกิดขึ้น หรือมีประโยชน์ในการรักษาอาการเจ็บป่วยบางอย่าง มีความสำคัญที่จะเข้าใจถึงความเสี่ยงแลผลข้างเคียงที่อาจจะมีการเกิดขึ้นมาได้ด้วย เช่นเดียวกับยา และวิธ๊การในการรักษาอื่นๆ สมุนไพรมีผลข้างเคียงที่สามารถเกิดขึ้นได้ อาจพบเจอผลค้างเขียงที่ไม่พึงประสงค์ อย่างไรก็ตาม มักจะพบแค่บางกลุ่มบุคคล เป็นมากเป็นน้อย และอาจจะแย่ลงหรืออาจจะมีความรุนแรงได้ ขึ้นอยู่กับตัวบุคคล
อันตรายจากการใช้สมุนไพร
1. อันตรายที่เกิดจากโรคที่ขาดการรักษา
- โรคหืด โรคหอบ โรคความดันสูง หรือโรคเบาหวาน ซึ่งในปัจจุบันทางแพทย์ยังไม่สามารถรักษาให้หายขาดไปได้ สามารถพยุงอาการได้เพียงการให้ยาเพื่อการบรรเทาอาการ และป้องกันการมีโรคแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นมาได้ บางบุคคลเลือกที่จะหันมารักษาด้วยสมุนไพรแทน เนื่องจากเบื่อการทานยาเลยหบุดทาน แต่สมุนไพรในหลายๆชนิดไม่มีประสิทธิภาพในการรักษาโรค หรือรักษาอาการนั้นๆได้ นอกจากนี้โรคบางอย่างก็อาจจะไม่แสดงอาการที่ชัดเจน อาจจะทำใเข้าใจผิดได้ว่า หายจากการเป็นโรคแล้ว จึงหยุดการรักษาที่ถูกวิธีการไป หากหยุดการรักษาเป็นเวลานานอาจจะส่งผลให้อาการกำเริบ และส่งผลที่อันตรายต่อร่างกายของบุคคลนั้นๆได้
พืชสมุนไพร นั้นตั้งแต่โบราณก็ทราบกันดีว่ามีคุณค่าทางยามากมายซึ่ง เชื่อกันอีกด้วยว่า ต้นพืชต่าง ๆ ก็เป็นพืชที่มีสารที่เป็นตัวยาด้วยกันทั้งสิ้นเพียงแต่ว่าพืชชนิดไหนจะมีคุณค่าทางยามากน้อยกว่ากันเท่านั้น 2. อันตรายที่เกิดจากฤทธิ์ของสมุนไพรโดยตรง
- สมุนไพรในหลายๆ ชนิดนั้นจะมีสารเคมีที่เป็นพิษร้ายแรงปะปนอยู่ ถ้าได้รับเข้าไปอาจจะทำให้เกิดอาการจากพิษนั้นๆได้ ขึ้นอยู่ในปริมาณที่ได้รับเข้าไปด้วยเช่นกัน บางชนิดรับในปริมาณที่น้อย อาจจะไม่เกิดอันตราย แต่ในบางชนิดรับในปริมทณที่น้อยก็เกิดอันตรายได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างเช่น มะเกลือ เมื่อผลแก่มันจะมีสีดำ อาจจะมีตัวสาร Naphthalene ซึ่งเป็นพิษต่อประสาทตาโดยตรง พบว่าที่ใบของมันมีพิษ หากได้รับสารนี้จะทำให้หัวใจเต้นช้าลง และอาจจะหยุดได้
คำว่า สมุนไพร ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หมายถึง พืชที่ใช้ทำเป็นเครื่องยา สมุนไพรกำเนิดมาจากธรรมชาติและมีความหมายต่อชีวิตมนุษย์โดยเฉพาะ ในทางสุขภาพ อันหมายถึงทั้งการส่งเสริมสุขภาพและการรักษาโรค ความหมายของยาสมุนไพรในพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 3. อันตรายจากสารเจือปนในสมุนไพร
- ทางคณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ได้มีการทำการตรวจ และวิเคราะห์ยาสมุนไพร เพื่อตรวจหาสารที่มีการเจือปนที่อาจจะก่อให้เกิดอันตรายที่ส่งผลต่อร่างกาย พบว่าส่วนใหญ่มักพบผสมกับ Arsnic 60% และสาร Steroids กว่า 30% นอกจากนั้นยังมีสารอื่นๆ ที่มีความอันตราย อีกมากมาย อทิ เช่น มะเกลือ สะเดา ตะไคร้หอม ขมิ้นชัน ขิง ข่า ดาวเรือง สาบเสือ กากเมล็ดชา พริก ขึ้นฉ่าย ชุมเห็ดเทศ ดองดึง และหนอนตายหยาก เป็นต้น