สมุนไพรที่สามารถรักษาภาวะซึมเศร้า,พืชสมุนไพรไทย ,สมุนไพร,คุณค่าทางจากธรรมชาติ
ภาวะซึมเศร้า ไม่ใช่ความอ่อนแอทางจิตใจ แต่เป็นอาการของโรคซึมเศร้า ซึ่งเป็นภัยเงียบด้านสุขภาพภาวะซึมเศร้า ไม่ใช่เพียงแค่อารมณ์เบื่อเซ็ง ท้อแท้ หดหู่ เศร้า เหงาโดยทั่วไป แต่เป็นภาวะที่เกิดจากความผิดปกติของสารสื่อประสาทในสมอง ซึ่งเกิดขึ้นได้กับทุกคนอาการที่สำคัญของภาวะซึมเศร้าคือ มีอารมณ์เศร้า ท้อแท้ หดหู่

สมุนไพรที่สามารถรักษาภาวะซึมเศร้า

รสชาติของยาสมุนไพร
สมุนไพรมักมีรสชาติที่หลากหลายตามชนิดของพืชและส่วนประกอบต่าง ๆ ที่ใช้ในการทำ ตั้งแต่รสชาติหวานจนถึงรสชาติขมหรือเปรี้ยวกว่ากัน ตัวอย่างเช่น หมากเขียวมีรสชาติหวานเบาๆ ในขณะที่ตะไคร้มีรสชาติเปรี้ยวอมหวานและหอมมาก เมื่อใช้ในการทำเครื่องดื่มหรืออาหารแบบต่าง ๆ
  • ภาวะซึมเศร้า ไม่ใช่ความอ่อนแอทางจิตใจ แต่เป็นอาการของโรคซึมเศร้า ซึ่งเป็นภัยเงียบด้านสุขภาพภาวะซึมเศร้า ไม่ใช่เพียงแค่อารมณ์เบื่อเซ็ง ท้อแท้ หดหู่ เศร้า เหงาโดยทั่วไป แต่เป็นภาวะที่เกิดจากความผิดปกติของสารสื่อประสาทในสมอง ซึ่งเกิดขึ้นได้กับทุกคนอาการที่สำคัญของภาวะซึมเศร้าคือ มีอารมณ์เศร้า ท้อแท้ หดหู่ สิ้นหวังอย่างรุนแรงเกิดขึ้นเกือบตลอดทั้งวัน ขมิ้นชัน ยาต้านซึมเศร้า ภาวะซึมเศร้า ไม่ใช่เพียงแค่อารมณ์เบื่อเซ็ง ท้อแท้ หดหู่ เศร้า เหงาโดยทั่วไป บัวบกบัวบกสามารถบรรเทาอาการโรควิตกกังวลได้ น้ำมันรำข้าวและจมูกข้าว ฤทธิ์ผ่อนคลาย คลายกังวล ช่วยให้นอนหลับ เป็นสารสื่อประสาท พบในระบบประสาทส่วนกลาง

ภาวะซึมเศร้า คือ

  • ภาวะซึมเศร้า ไม่ใช่ความอ่อนแอทางจิตใจ แต่เป็นอาการของโรคซึมเศร้า ซึ่งเป็นภัยเงียบด้านสุขภาพภาวะซึมเศร้า ไม่ใช่เพียงแค่อารมณ์เบื่อเซ็ง ท้อแท้ หดหู่ เศร้า เหงาโดยทั่วไป แต่เป็นภาวะที่เกิดจากความผิดปกติของสารสื่อประสาทในสมอง ซึ่งเกิดขึ้นได้กับทุกคนอาการที่สำคัญของภาวะซึมเศร้าคือ มีอารมณ์เศร้า ท้อแท้ หดหู่ สิ้นหวังอย่างรุนแรงเกิดขึ้นเกือบตลอดทั้งวันติดต่อกันอย่างน้อย2สัปดาห์ร่วมกับเบื่อหน่ายหมดความสนใจในการงานหรือกิจกรรมที่เคยชอบทำหากไม่ได้รับการบำบัดรักษาอย่างถูกต้อง จะคงอยู่นานเป็นเดือน เรื้อรังเป็นปี และกลับเป็นซ้ำได้บ่อยเมื่อใช้ร่วมกันทั้ง ยาต้านซึมเศร้า และสารสกัดขมิ้นชัน จะให้ผลตอบสนอง 77.8%

สมุนไพรที่ใช้เพื่อรักษาภาวะซึมเศร้า

1.ขมิ้นชัน

การใช้สารสกัดขมิ้นชัน 500 มก. หลังอาหารเช้าและเย็น และยาต้านซึมเศร้าเป็นเวลา 6 สัปดาห์ เปอร์เซ็นต์การตอบสนองผลการรักษาของผู้ป่วย ยาต้านซึมเศร้า 64.7% สารสกัดขมิ้นชัน 62.5% และเมื่อใช้ร่วมกันทั้ง ยาต้านซึมเศร้า และสารสกัดขมิ้นชัน จะให้ผลตอบสนอง 77.8%ปัจจุบันขมิ้นชันจะมีทั้งแบบสกัดและแบบผงแห้ง โดยขนาดการรับประทานแบบผงแห้งคือ ยาแคปซูลขมิ้นชัน 2 แคปซูล หลังอาหาร เช้า กลางวัน เย็นและก่อนนอน อย่างไรก็ตามมีข้อควรระวังในการใช้ในผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ำดี หญิงตั้งครรภ์ ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์ และควรระวังการใช้ในเด็กเนื่องจากยังไม่มีข้อมูลด้านประสิทธิผลและความปลอดภัย นอกจากนี้ยังควรระวังการใช้ร่วมกับสารกันเลือดลิ่ม (anticoagulants) และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด

2.บัวบก

มีการใช้บัวบกเป็นยามาแต่โบราณ ทั้งในศาสตร์อายุรเวท และการแพทย์แผนจีน บัวบกสามารถบรรเทาอาการโรควิตกกังวลได้ จากการศึกษาการใช้สารสกัดบัวบก 500 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร ในผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรควิตกกังวล อายุตั้งแต่ 18  ปีขึ้นไป จำนวน 33 คน และเห็นผลชัดเจนขึ้นที่ 2 เดือน จากผลการศึกษาดังกล่าวจะเห็นได้ว่าสารสกัดบัวบกช่วยลดความผิดปกติที่เกิดจากความกังวล ลดความเครียดและลดอาการซึมเศร้าได้ทำให้ความเต็มใจที่จะปรับตัวและเรียนรู้ดีขึ้น บัวบกจึงมีศักยภาพที่จะนำมาใช้ในผู้ป่วยโรควิตกกังวล ขนาดการรับประทาน สำหรับผู้ที่สะดวกจะใช้ใบบัวสด ก็สามารถคั้นน้ำจากใบบัวบกสดที่ล้างสะอาด รับประทานแบบเข้มข้น วันละ 1-2 ช้อนชา ส่วนการใช้ใบบัวบกแห้ง เป็นยารับประทานใบแห้ง ใช้ครั้งละ 1-2 ช้อนชาชงกับน้ำเดือด

Comments

No comments yet. Why don’t you start the discussion?

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *