พริกกกขี้หนู,พืชสมุนไพรไทย ,สมุนไพร,คุณค่าทางจากธรรมชาติ
พริกกกขี้หนู (Capsicum annuum var. acuminatum) เป็นพริกที่มีลักษณะเป็นของขนาดเล็กถึงกลาง มีรูปร่างที่แหลมเป็นแท่งเล็ก ๆ หรือกลมเล็ก ๆ และมีรสชาติที่เผ็ดมาก มักนำมาใช้ในการปรุงอาหารให้มีรสเผ็ดและเพิ่มความเผ็ดให้กับอาหารต่าง ๆ ในทั่วไป

การใช้สมุนไพรในอาหาร

พริก สามารถช่วยเจริญอาหาร ขับเหงื่อ เป็นเครื่องเทศ ที่มีบทบาทสำคัญมากในอาหารไทยแทบทุกชนิด แก้เคล็ดขัดยอก ฟกช้ำดำเขียว กลาก หิต บรรเทาอาการปวดเมื่อย ลดอาการไขข้ออักเสบ ปวดบวม แก้เส้นเอ็นพิการ แก้ปวดเมื่อย ขับปัสสาวะ ใช้ต้นสุกเป็นถ่านแช่น้ำดื่ม ขิง นับเป็นพืชสารพัดประโยชน์อย่างแท้จริง เพราะเป็นทั้งอาหาร เครื่องเทศ เครื่องดื่ม และยา ยิ่งกว่านั้นกลิ่นของขิงก็ยังนำไปใช้ประโยชน์อีกมากมายหลายด้าน เช่น แต่งกลิ่น อาหาร ขนม เครื่องดื่ม และยาต่างๆ ตะไคร้ คือ สมุนไพรที่มีรสเผ็ดเล็กน้อยแต่มีกลิ่นหอมเฉพาะที่ กระชายมีลักษณะรสเผ็ดเบาๆ แต่มักใช้เป็นเครื่องเทศ ข่า มีลักษณะเผ็ดเบาๆ และมีกลิ่นหอมเฉพาะ

สมุนไพรรสเผ็ด 

พริก สามารถช่วยเจริญอาหาร แก้อาเจียน บิด ขับเหงื่อ ขับลม เป็นเครื่องเทศ เครื่องแต่งสี กลิ่น รส ที่มีบทบาทสำคัญมากในอาหารไทยแทบทุกชนิด แก้เคล็ดขัดยอก ฟกช้ำดำเขียว กลาก หิต บรรเทาอาการปวดเมื่อย ลดอาการไขข้ออักเสบ ปวดบวม แก้เส้นเอ็นพิการ แก้ปวดเมื่อย ขับปัสสาวะ ใช้ต้นสุกเป็นถ่านแช่น้ำดื่ม ขิง นับเป็นพืชสารพัดประโยชน์อย่างแท้จริง เพราะเป็นทั้งอาหาร เครื่องเทศ เครื่องดื่ม และยา ยิ่งกว่านั้นกลิ่นของขิงก็ยังนำไปใช้ประโยชน์อีกมากมายหลายด้าน เช่น แต่งกลิ่น อาหาร ขนม เครื่องดื่ม และยาต่าง ๆ ตะไคร้ คือเสมุนไพรที่มีรสเผ็ดเล็กน้อยแต่มีกลิ่นหอมเฉพาะที่ ใช้ในอาหารเพื่อเพิ่มกลิ่นหอมและรสชาติ กระชาย มีลักษณะรสเผ็ดเบาๆ แต่มักใช้เป็นเครื่องเทศหรือส่วนผสมในน้ำพริกและอาหารต่างๆ กระชายมีลักษณะรสเผ็ดเบาๆ แต่มักใช้เป็นเครื่องเทศหรือส่วนผสมในน้ำพริกและอาหารต่างๆ ข่า มีลักษณะเผ็ดเบาๆ และมีกลิ่นหอมเฉพาะ ใช้ในอาหารไทยและอาหารตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ต้มยำ, ต้มข่า

3 สมุนไพรรสเผ็ดยอดนิยม

1.ลูกจันทน์เทศ

จันทน์เทศมีการนำไปใช้ประโยชน์หลากหลายด้าน ตั้งแต่อดีตมีการนำราก และเมล็ดจันทน์เทศมาทำเป็นเครื่องเทศ โดยเครื่องเทศที่ได้จากจันทน์เทศนี้เป็นที่นิยมไปทั่วโลก เช่น ในอินเดียมักใช้เป็นเครื่องเทศในอาหารโมกุล (Moghul) ชาวอาหรับมักใช้ปรุงอาหารที่ทำจากเนื้อแพะ เนื้อแกะ ชาวดัตช์ใส่ในมันฝรั่งบด สตู และฟรุตสลัด ครัวอิตาลีใส่ในอาหารจากผัก รวมทั้งไส้กรอก เนื้อวัว พาสต้า ชาวอินโดนีเซียนำไปทำแยม เยลลี่ ลูกกวาด ในยุโรปใช้ปรุงรสในเค้กน้ำผึ้ง เค้กผลไม้ ไทยนำไปผสมกับขนมปัง เนย แฮม ไส้กรอก เบคอน เนื้อตุ๋นต่างๆ แกงกะหรี่ แกงมัสมั่น น้ำพริกสำเร็จรูป และ นำไปใช้ในผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ สามารถนำไปทำเป็นอาหารได้หลากหลายรูปแบบ นำผลมาทำแช่อิ่ม หยี่ หรือทำจันทน์เทศสามรส และยังใช้เนื้อผลสดกินเป็นของขบเคี้ยว มีรสออกเผ็ด และฉุน

2.ลูกกระวาน

เครื่องเทศยอดนิยมของไทย ด้วยมีกลิ่นหอม ทั้งส่วนใบและเมล็ด จึงนิยมนำมาทำเป็นส่วนประกอบในเมนูอาหารสำคัญ ไม่ว่าจะเป็นแกงมัสมั่น แกงเนื้อ สตูต่าง ๆ ทั้งแบบไทยและเทศ กระวาน เป็นพืชชนิดหนึ่ง ที่มักนิยมนำมาทำเป็นเครื่องเทศสำหรับเพิ่มรสชาติและกลิ่นหอมให้กับอาหาร มี 2 ชนิดด้วยกันคือ กระวานเทศ ลักษณะเด่น นั้นคือผลจะมีลักษณะแบนรี แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียดแน่นท้อง ตำรายาไทย ระบุไว้ว่า ผลแก่ของกระวาน ที่มีอายุ 4-5 ปีขึ้นไป ใช้รักษาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียดแน่นท้องได้ นอกจากนี้ ยังใช้ผสมกับยาถ่ายเพื่อบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียนได้อีกด้วย ลดไข้ แก้เสมหะ นอกจากช่วยรักษาโรค ในกลุ่มระบบทางเดินอาหารไม่เป็นปกติแล้ว กระวานยังสามารรถใช้ลดไข้ แก้เสมหะได้ ตามที่หนังสือพิกัดยาไทยได้ระบุให้ กระวาน เป็นส่วนประกอบในยาพิกัดตรีธาตุ

3.กานพลู

กานพลู” เป็นชื่อสมุนไพรในภาษาไทยที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Litsea cubeba หรือ May Chang ในภาษาอังกฤษ เป็นพืชที่มีลักษณะใบเรียวยาว มีลักษณะเด่นคือผลเป็นลูกเล็กๆ โดยทั่วไปใช้เป็นเครื่องเทศและส่วนผสมในการผลิตน้ำมันหอมระเหยรสเผ็ดร้อนปร่า เป็นยาแก้พิษโลหิต แก้ปวดท้อง แก้ลมเป็นเหน็บชา แก้พิษน้ำเหลือง แก้อุจจาระให้เป็นปกติ แก้เลือดออกตามไรฟัน แก้ปวดฟัน แก้หืด ละลายเสมหะ ดับกลิ่นปาก มีการใช้กานพลู ในยารักษากลุ่มอาการทางระบบไหลเวียนโลหิต (แก้ลม) ปรากฏในตำรับ”ยาหอมเทพจิตร” และตำรับ ”ยาหอมนวโกฐ” โดยมีส่วนประกอบของกานพลูร่วมกับสมุนไพรชนิดอื่นๆ ในตำรับ มีสรรพคุณในการแก้ลมวิงเวียน แก้อาการหน้ามืด ตาลาย ใจสั่น คลื่นเหียน อาเจียน แก้ลมจุกแน่นในท้อง ตำรับยารักษากลุ่มอาการทางระบบอาหาร ประกอบด้วย “ยาธาตุบรรจบ” มีส่วนประกอบของกานพลูร่วมกับสมุนไพรชนิดอื่นๆ

Comments

No comments yet. Why don’t you start the discussion?

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *